วันอาทิตย์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ความหมายของเว็บไซต์

หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์ โดยทั่วไป จะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูลในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของเว็บเบราว์เซอร์

http://www.esarndesign.com/index.php?option=com_content&view=article&id=5:2009-09-17-03-46-27&catid=2:knowledge&Itemid=10


เว็บไซต์ (Web Site) หมายถึง เว็บเพจหลาย ๆ หน้า รวมกัน และถูกจัดเก็บไว้ในที่อยู่เดียวกันบน (Server) โดยแต่ละหน้าข้อมูลของเว็บเพจ จะถูกนำเสนอผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ต เปรียบเช่นเดียวกับ หนังสือที่มี ปกหน้า หน้าสารบัญ และหน้าเนื้อหา จะดีกว่าก็ตรงที่ สามารถนำเสนอภาพเคลื่อนไหวและเสียงได้ และสามารถปรับแต่งได้ตลอดเวลา ซึ่ง 1 เว็บไซต์จะมีเว็บเพจกี่หน้าก็ได้ที่เชื่อมโยงกัน หรือเว็บไซต์หนึ่งจะเชื่อมโยงไปยังอีกเว็บไซต์หนึ่งก็ได้

http://www.t-thai.com/general_internet.html


เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์

http://www.o2blog.com/myblog/blog.php?month=&year=&user=mzy_mwe&page=&syear=&smonth=&sdate=&style=1&id=5168

สรุป

เว็บไซต์ คือหน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ



เว็บเซอร์วิส (Web Service) อาจไม่ได้เป็นเรื่องใหม่แล้ว และคนวงการไอทีส่วนใหญ่เริ่มเข้าใจเทคโนโลยีเว็บเซอร์วิสดีขึ้น มาตรฐานต่างๆ ของเว็บเซอร์วิสเริ่มเป็นที่ยอมรับกันมากขึ้นและกลายเป็นมาตรฐานหลักในการพัฒนา SOA แต่การพัฒนาเว็บเซอร์วิสสำหรับประยุกต์ใช้งานจริงในองค์กรยังเพิ่งเริ่มต้นและวัตถุประสงค์ในการพัฒนายังไม่ชัดเจนนัก แต่เมื่อมีการกล่าวถึงการพัฒนาสถาปัตยกรรมเชิงบริการ (SOA) ภายในองค์กรกันมากขึ้น โดยเฉพาะความต้องการขององค์กรที่จะทำการเชื่อมโยงระบบภายในองค์กร (Internal Enterprise Application Integration) จึงทำให้องค์กรสนใจจะนำเทคโนโลยีเว็บเซอร์วิสเข้ามาช่วยในการพัฒนาโปรแกรมต่างๆ มากขึ้น

http://www.thaijavadev.com/soa/articles/WSIntro/WSIntro.html

Web Services (WS) คือแอพลิเคชั่นหรือโปรแกรมที่ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งในลักษณะให้บริการ โดยจะถูกเรียกใช้งานแอพลิควั่นจากโปรแกรมอื่น ๆ (pip, asp, java, python) ผ่านทางหน้าเว็บ การให้บริการของ WS จะมีเอกสารที่อธิบายคุณสมบัติของการบริการกำกับไว้ และมีการนำเสนอให้สาธารณะชนรับทราบ ผู้ใช้จึงสามารถค้นหา WS ได้โดยไม่จำเป็นต้องรู้ที่อยู่จริงของแอพลิเคชั่นหรือโปรแกรมนั้นๆ

http://ws.cmsthailand.com/


เว็บเซอร์วิส มีอินเทอร์เฟส ที่ใช้อธิบายรูปแบบข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ เช่น WSDL ระบบคอมพิวเตอร์ใช้งานสื่อสารโต้ตอบกับเว็บเซอร์วิสตามรูปแบบที่ได้กำหนดไว้แล้ว โดยการส่งสาสน์ตามอินเตอร์เฟสของเว็บเซอร์วิสนั้น โดยที่สาสน์ดังกล่าวอาจแนบไว้ในซอง SOAP หรือส่งตามอินเตอร์เฟสในแนวทางของ REST สาสน์เหล่านี้ปกติแล้วถูกส่งโดยอาศัย HTTP และใช้ XML ร่วมกับมาตรฐานเกี่ยวกับเว็บอื่นๆ โปรแกรมประยุกต์ที่เขียนโดยภาษาต่างๆ และทำงานบนแพลตฟอร์มต่างๆกันสามารถใช้เว็บเซอร์วิสเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ในลักษณะเดียวกับการสื่อสารระหว่างโปรเซส (Inter-process communication) บนเครื่องเดียวกัน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่ต่างกันนี้ (เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง โปรแกรมที่เขียนโดยภาษาจาวา และโปรแกรมที่เขียนโดยภาษาไพทอน หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนไมโครซอฟท์วินโดวส์และโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนลินุกซ์) เกิดขึ้นได้เนื่องจากการใช้มาตรฐานเปิ ด โดย OASIS และ W3C เป็นคณะกรรมการหลักในการรับผิดชอบมาตรฐานและสถาปัตยกรรมของเว็บเซอร์วิส

http://www.boarddev.com/forum/index.php?topic=3458.0


สรุป

เว็บเซอร์วิส คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่าย โดยที่ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ XML เว็บเซอร์วิส สามารถทำอะไรก็ได้ตั้งแต่งานง่ายๆ เช่นดึงข้อมูล จนถึงกระบวนการทางธุรกิจที่ซับซ้อน

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์

ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกการใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในด้านการทำงาน เล่นเกม สนทนา ติดธุรกิจ การป้องกันภัย รวมถึงเพื่อความบันเทิงด้วย ปัจจุบันมีคนใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่เสื่อมเสีย และก่อให้เกิดโทษตามมามากมาย เพระผู้ใช้เหล่านั้นยังไม่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวนี้หากบุคคลผู้ใช้คอมพิวเตอร์ผู้ใดยังไม่มีแล้ว จะก่อให้เกิดความเสียหายตามมาอีกมากดังนั้นไม่ว่าทุกๆคนจะใช้คอมพิวเตอร์ในทางใดก็ตามทุกคนก็ควรจะมีจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์กันให้มากๆบัญญัติ 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์

1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ จรรยาวิชาชีพ ของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
11.ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ถูกต้อง
12.ควรมีมารยาทในการใช้ไม่แอบดูข้อมูลของผู้อื่นที่ไม่อนุญาต
13.ไม่ใช้เทคโนโลยีในทางที่ผิด เช่น การขโมยข้อมูลของบุคคลอื่น หรือการทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียไม่ว่าจะทางชื่อเสียง ทางสังคม และอื่นๆ ซึ่งเป็นการไม่สมควรอย่างยิ่ง
14.ควรช่วยกันรักษาคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีเอาไว้
15.หากว่าเราไม่ได้เป็นผู้ที่กระทำแต่หากพบเห็นบุคคลอื่นก็ควรที่จะว่ากล่าวตักเตือนให้เขาทำในสิ่งที่ถูกต้อง
http://sw06840.blogspot.com/2009/02/blog-post.html

วันอังคารที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

Web Development Helper
Web Development Helper plugs into Internet Explorer and provides tools for Ajax and Web development.
Web Development Helper is a free browser extension for Internet Explorer that provides a set of tools and utilities for the Web developer, esp. Ajax and ASP.NET developers. The tool provides features such as a DOM inspector, an HTTP tracing tool, and script diagnostics and immediate window.
Web Development Helper works against IE6+, and requires the .NET Framework 2.0 or greater to be installed on the machine.
Once installed, the tool can be activated using the Tools | Web Development Helper command. You can also customize your browser's toolbar to add a button for this command to facilitate frequest use. Clicking on the menu command or browser button brings up the tool's console window and set of commands.
Page Features:
• DOM inspector allows viewing all elements, selected elements, or elements matching an ID or CSS class, their attributes and styles.
• Capturing a screen shot of the current page.
• Viewing page information such as metadata, tags, and linked resources.
Networking Features:
• Logging HTTP (and HTTPS) requests initiated by the browser or Ajax scripts
• Viewing request and response details.
• Ability to filter the types of URLs to log.
Scripting Features:
• Trap script errors to see detailed (and correct) call stack for the script error.
• A script console to provide trace functionality to scripts using the window.debugService script API.
• An immediate window to write and run script.
• A script class browser to browse classes defined in script (specifically classes written to the ASP.NET Ajax or Script# pattern).
ASP.NET Features:
• View view state in the page in raw, decoded, and parsed forms, to understand what is being generated into the view state (esp. useful for control developers).
• View items stored by applications into cache, and the ability to remove them for purposes of testing.
• View trace information, and hide it from the page, so it does not get in the way of your page layout.
ข้อมูลจาก
http://projects.nikhilk.net/WebDevHelper